วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 2

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2
วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2559
เวลา 08:30 - 12:30 น.


เนื้อหาที่เรียน

การเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
การเล่น
กระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
ทำให้เด็กเกิดความสนุกเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย
ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม 
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น
Piaget กล่าวถึงพัฒนาการการเล่นของเด็กว่ามี 3 ขั้น ดังนี้
1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส
(
Sensorimotor Play)
สำรวจ จับต้องวัตถุ
ยุติลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
2. ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play)
อายุ 1 ½ - 2 ปี
การเล่นที่ไม่มีขอบเขตจำกัด
เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง
3. ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play)
2 ขวบขึ้นไป
สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ
เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่างๆที่ไม่มีอยู่ที่นั่น
ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุด คือ การเล่นบทบาทสมมติ
ประเภทของการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
การเล่นในร่ม
การเล่นตามมุมประสบการณ์
การเล่นสรรค์สร้าง
การเล่นสรรค์สร้าง
การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระ และเล่นได้หลายวิธี
ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง

องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง(Formann and Hill, 1980)
1. สภาวะการเรียนรู้
เนื้อหาของสาระการให้ความรู้แก่เด็กโดยจัดสถานการณ์ให้เด็กเกิดการเรียนรู้
การเรียนรู้คุณลักษณะและความเหมือน
การเรียนรู้เกี่ยวกับการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งของและผู้อื่น
การเรียนรู้และจินตนาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
การเรียนรู้เหตุและผล
การเรียนรู้คุณลักษณะและความเหมือน



การเรียนรู้คุณลักษณะและความเหมือน
 




การเรียนรู้คุณลักษณะและความเหมือน

อันไหนขงจริง อันไหนภาพวาด

เฉลย ฝั่งซ้ายของจริง


การเรียนรู้และจินตนาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
การไหลของจากการเอียงซ้ายขาวและน้ำหนักของสิ่งของ

การเรียนรู้เหตุและผล



2. พัฒนาการของการรู้คิด
ต้องจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก

3. กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้

กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงกลาง
การจำแนกอย่างมีเหตุผล

หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง
ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
มีการสรุปท้ายกิจกรรม

กิจกรรมการเรียน

ต่อให้ได้สูงที่สุด เท่าที่ทำได้ภายใน 5 นาที

ครั้งที่ 1 ได้ 35
ครั้งที่ 2 ได้ 47
ครั้งที่ 3 ได้ 52

เกิดการพัฒนาตั้งแต่แรก

กิจกรรมที่ 2
พับเรือ โดยแบ่งเป็นกลุ่ม ทำให้เรือขนของให้ได้มากที่สุดเทาทำได้









ตอนเอาของมาใส่เรือ




กิจกรรมที่ 3 
หนังสือพิมพ์
ให้ออกแบบชุดและให้เพื่อนในกลุ่มแต่งชุดนั้นคนหนึ่งโดยดี"ซออกมา และแรงบันดาลใจได้จากอะไร




การนำไปประยุกต์ใช้
  การนำความรู้ที่ได้รับ นำไปบอกต่อ


การประเมิน
ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียน สนุกกับการเรียน เรียนแล้วไม่ง่วง


ประเมินเพื่อน
- เพื่อนดูสนุกกับการทำกิจกรรม และตั้งใจกันทำกิจกรรม

ประเมินอาจารย์
- อาจารย์สอนเนื้อหาสนุก และเข้าใจง่าย การเรียนการสอนมัความสนุกสนาน





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น