วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2559

เรียนชดเชย
วัน พุธ ที่ 30 พฤศจิกายน 2559
เวลา 09:00

เนื้อหาที่เรียน

วันนี้แจกสีเมจิก และ รางวัลเด็กดี



การนำไปใช้
ก็จะนำสีที่แจกไปใช้ให้คุ้มค่า เช่น ไว้ขีดเน้นคำ วาดรูป ระบายสี 

วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 13

บันทึกการเรียนครั้งที่ 13
วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2559
เวลา 08:30-12:30 น.

เนื้อหาที่เรียน
รำวงและแบ่งกลุ่ม

โดยแบ่งครั้งแรก ให้แสดงนิทาน



ให้แต่งนิทานเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่พูดไม่ได้ ให้พูดได้

 รำวงแบ่งกลุ่ม ให้ทำเครื่องดนตรี
ทุกคนในกลุ่มต้องใช้เครื่องดนตรีไม่เหมือนกัน และ ส่วนต่างใช้ไม่เหมือนกัน

การนำไปใช้
สามารถนำไปเล่นกับเด็กได้และฝึกว่ามีท่าไหนบ้างที่เป็นเครื่องดนตรี


ประเมิน

ประเมินตนเอง ตั้งใจเรียน และ เรียนสนุก ตั้งใจดูเพื่อนทำ

ประเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจทำกิจกรรมและจอบันทึก 

ประเมินอาจารย์ สอนสนุกและให้ข้อคิด


วันอาทิตย์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 12

บันทึกการเรียนครั้งที่ 12 
วันจันทร์ ที่ 14 พฤศจิกายน 2559
เวลา 08:30 - 12:30 น.

เนื้อหาที่เรียน

ให้จับกลุ่ม คิดการทำกิจกรรมเคลื่อนไหว

โดยได้ กิจกรรม 
1.เคลื่อนไหวแบบจินตรนาการ
2.เคลื่อนไหวตามข้อตกลง
3.เคลื่อนไหวแบบบรรยาย
4.เคลื่อนไหวแบบความจำ
5.เคลื่อนไหวแบบเพลง

 ภาพผนวก



การนำไปใช้ 
-สามารถนำไปเล่น ได้กับเด็ก

ประเมิน
ประเมินตนเอง
-ตั้งใจเรียน และจดบันทึก ตั้งใจฟังเพื่อน

ประเมินเพื่อน
-เพื่อนตั้งใจเรียน และจดบันทึก และการแสดงออกเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
-อาจารย์คอยแนะนำสิ่งที่หายให้เพื่มมากขึ้น



ครั้งที่ 11

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 11
วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน 2559
เวลา 08:30 - 12:30 น.


เนื้อหาที่เรียน

วันนี้ให้นำเสนอสิ่งประดิษฐ์

บัวรดนำ้ จากกระป๋อง


ตะกร้า จากกล่องนม

โคมไฟ จากช้อน


เตาย่าง จากกระป๋อง

ถังขยะ จากขวดน้ำ

ลิ้นชัก จากกล่องกระดาษ

ที่คาดผม จาก ที่เปิดกระป๋อง

 เครื่องครัว จากกล่อง

เตาอบ จากกระป๋อง




เสื่อ จากกล่องนม

กระเป๋าดินสอ จากขวดน้ำ


ที่ล้างจาน จากกล่อง
รถ จากขวด

ที่คิดเงิน จากกล่อง

การนำไปใช้
- สามารถนำไปเล่น
-สามารถนำไปเป็นบทบาทสมมุติให้กับเด็ก

ประเมิน

ประเมินตนเอง
-ตั้งใจนำเสนองาน และฟังเพื่อนนำเสนองานของตนเอง ตั้งใจจดบันทึก และฟัง  อาจารย์


ประเมินเพื่อน
-เพื่อนตั้งใจฟัังและนำเสนองานของตนเองเป็นอย่างดี และเพื่อนตั้งใจฟังอาจารย์ให้คำแนะนำ 

ประเมินอาจารย์
-อาจารย์ช่วยแนำนำให้ผลงานใช้ได้นานและดี และอาจารย?ยังค่อยให้เทคนิคในการทำให้ออกมาสวยงามและใช้ได้

ครั้งที่ 10

บันทึกการเรียนครั้งที่ 10
วัน จันทร์ ที่ 31 ตุลาคม 2559
เวลา 08 : 30 - 12 : 30 น.


เนื้อหาที่เรียน

ให้ประดิษฐ์ของเล่น 3 อย่าง
1.จากขวดพลาสติก
2.จากกระดาษ
3.จากกระป๋อง

โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่ม 10-11 คน

และให้บอกว่าจะทำอะไรของแต่ละคน
เช่น รถ จาดขวด  ตะกร้า จากกล่องนม  ที่ล้างจาน จากกล่องกระดาษ

 จากนั้น
นั่งจับกลุ่มทำหนังสือตัวเลข






วิธีทำหมวก จากกล่องนม


อุปกรณ์ที่ใช้ทำหมวกกล่องนม
กรรไกร
เข็มหรือกิ๊บติดผมสีดำ
ไหมพรมสีต่างๆ
ที่เจาะกระดาษ (ตุ๊ดตู่)
ดินสอหรือปากกา
แบบหรือแพทเทิร์นของหมวกชนิดต่าง ๆ ซึ่งแพทเทิร์นเป็นหัวใจสำคัญของการทำหมวก หากวาดเองไม่เป็น ก็ให้แกะแบบจากหมวกจริงทีละชิ้น แล้วนำมาวางทาบลงวาดแบบ แล้วต่อ ๆ ไปก็จะออกแบบได้เอง
วิธีทำหมวกกล่องนม
เริ่มจากนำกล่องนมมาแกะออกให้เป็นแผ่นสี่เหลี่ยม ล้างน้ำให้สะอาดอย่าให้มีกลิ่นนมติดอยู่แล้วนำไปผึ่งลมให้แห้ง
ใช้แบบหรือแพทเทิร์นของหมวกวางทับลงไป ใช้ดินสอหรือ ปากกาวาดภาพตามแบบชิ้นส่วนต่าง ๆ ของหมวกลงบนกล่องนม
การสร้างแบบ นั้นจะมี 2 ส่วน คือ ตัวหมวกและปีกหมวก สำหรับบังแดด
สำหรับตัวหมวกนั้นจะมีลักษณะเป็น รูปสามเหลี่ยมคล้าย ๆ หน้าเตารีด ก่อนที่จะสร้างแบบต้องกะขนาดของหัวด้วย เพราะจะได้กะขนาดกว้างยาวได้ถูก ยกตัวอย่างเช่น กว้างประมาณ 3.5 นิ้ว ยาวประมาณ 6.5 นิ้ว
ส่วนของปีกหมวกเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ขนาดกว้างยาวพอ ๆ กัน แต่จะต้องตัดให้มีส่วนโค้งเว้าเพื่อที่สามารถประกอบเข้ากับตัวหมวกได้อย่างเหมาะเจาะ การสร้างแบบที่ดี ก็จะนำไปสู่หมวกที่สวยงามอย่างลงตัว
เมื่อวาดแบบและตัดแบบออกมาตามที่ต้องการแล้ว เราจะมาถึง การเพาะจุด เพื่อเจาะรู การเพาะจุดนั้น ให้เพาะจุดบริเวณริมขอบของตัวแบบลึกเข้าไปไม่เกิน 0.5 เซนติเมตร และเพาะจุดให้รอบแบบโดยกะระยะห่างแต่ละจุดให้พอดี ๆ ไม่ชิดกันหรือห่างกันจนเกินไป โดยเพาะจุดในส่วนยาวของตัวแบบไม่เกิน 25 จุด และส่วนกว้างไม่เกิน 13 จุด จากนั้นนำไปเจาะรูด้วยที่เจาะกระดาษ(ตุ๊ดตู่)จนครบ
เมื่อเราได้ตัวแบบข้างต้นแล้ว เราก็นำต้นแบบนั้นไปทาบกับกล่องนมชิ้นอื่น ๆ โดยที่ หมวกแก๊ป 1 ใบ ต้องใช้ส่วนประกอบตัวหมวก 6 ชิ้น และส่วนปีกหมวกอีก 2 ชิ้น โดยเน้นว่าส่วนประกอบแต่ละชิ้นนั้นต้องมีขนาดเท่ากันหมด ทั้งตัวแบบหรือรูที่เจาะลงไป
วีธีเย็บหมวกกล่องนม 
เริ่มจากนำชิ้นส่วนมาต่อกันในแนวตั้ง ร้อยด้ายไหมพรมกับเข็มหรือกิ๊บหนีบผมแล้วเริ่มเย็บจากฐานล่างของชิ้นส่วนทั้งสองให้ติดกันจากนั้นจึงค่อยเย็บให้ติดกันไปจนสุด โดยจะเย็บด้ายไหมพรมไขว้ไปมาระหว่างรูเป็นรูปกากบาท หรืออาจจะเย็บทแยงไปแนวใดแนวหนึ่งก่อนแล้วค่อยเย็บอีกแนวหนึ่งก็ได้แต่ก็ต้องเป็นรูปกากบาท และไหมที่ใช้เย็บนั้นต้องเป็นเส้นคู่เพื่อความหนาแน่น คงทนถาวร

จากนั้นค่อย ๆ เย็บเชื่อมต่อชิ้นส่วนอื่นๆทีละชิ้นจนเป็นรูปวงกลม นำส่วนปีกหมวกอีก 2 ชิ้นมาเย็บประกบกันเพื่อความแข็งแรง โดยเย็บเฉพาะส่วนด้านโค้งเท่านั้นแล้วต่อกับตัวหมวกด้านใดด้านหนึ่งแล้วเย็บอีกครั้งก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อย 



การนำไปใช้

-สามารถเอาไปทำเองและทำให้ได้หลายแบบ
-สามารถทำเป็นสือการสอนได้

ประเมิน

ประเมินตนเอง 
-ตั้งใจเรียน และหาของสิ่งที่จะประดิษฐ์มานำเสนอ

ประเมินเพื่อน
-เพื่อนตั้งใจเรียน และหาของที่จะประดิษฐ์ 

ประเมินอาจารย์
-อาจารย์สอนสนุก เข้าใจง่าย และมีให้เทคนิคในการทำงาน

วันพุธที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 9

บันทึกการเรียนครั้งที่ 9

วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม 2559

เวลา 08:30 - 12:30 น



วันหยุดชดเชย

ครั้งที่8

บันทึกการเรียนครั้งที่ 8

วันจันทร์ที่ 17 ตุลาคม 2559

เวลา 08:30 - 12:30 น


เนื้อหาที่เรียน

-ให้ออกแบบตัวเลขที่เลือกมาก

- ระบายสีให้สวยงาม


- ตัดส่วนที่ระบายสี


- ให้ออกแบบนิทาน เช่น ทำหนังสือนิทาน เกม การจับคู่

และออกแบบให้เด็กได้มีส่วมร่วมในหนังสือสือเล่นนี้


การนำไปประยุกต์ใช้

-นำไปทำเองที่บ้าน และ ทำสื่อการสอนเองได้ 


การประเมิน
ประเมินตนเอง

                -ตั้งใจเรียน ตั้งใจฟัง ตั้งใจทำงาน และการมีส่วนร่วมได้ ออกความคิดเห็น

ประเมินเพื่อน

- เพื่อนตั้งใจทำผลงานของตัวเอง ระบายสีให้สวยงาม การออกความคิเดเห็นได้หลายแบบ


ประเมินอาจารย์

- อาจารย์เตรียมเนื้อหาสอนดี และสนุก ได้ให้ออกแบบด้วยตนเอง และค่อยแนะนำให้ผลงานออกมาดี